THE BEST SIDE OF รีวิวเครื่องเสียง

The best Side of รีวิวเครื่องเสียง

The best Side of รีวิวเครื่องเสียง

Blog Article

ไปติดตั้งไว้ที่ผนังด้านหลังตำแหน่งวางลำโพง และผนังด้านข้างลำโพงซ้าย–ขวาดูแล้ว ผมพบว่า ตัวแผง

For those who disable this cookie, we won't be able to save your preferences. Because of this whenever you check out this Internet site you have got to empower or disable cookies all over again.

เถียงไม่ได้เลยว่า สภาพอะคูสติกภายในห้องฟังมีผลต่อลักษณะและคุณภาพเสียงของชุดเครื่องเสียงอย่างมาก.. มากซะจนสามารถทำให้เสียงของลำโพงคู่เดียวกันให้เสียงออกมาต่างกันราวฟ้ากับเหวได้ด้วยการปรับเปลี่ยนสภาพอะคูสติกภายในห้องฟังไปแค่นิดเดียว.!

ตัวนี้แล้วเปิดเพลงเดิมๆ รีวิวเครื่องเสียง ฟัง เสียงที่ได้ยินมันเปลี่ยนไปเยอะมาก! อย่างแรกที่สัมผัสได้คือความคึกคัก กระฉับกระเฉง รู้สึกได้ว่าเสียงที่ได้ยินมีพลังมากขึ้น คล้ายเปลี่ยนแอมป์ที่ใหญ่ขึ้น อิมเมจของชิ้นดนตรีมีความชัดเจนมากขึ้น เข้มขึ้น แต่ส่วนที่ลดน้อยลงคือหางเสียงที่เป็นความกังวานของฮาร์มอนิกจะมีลักษณะที่ลาดชันมากขึ้น คือระยะเวลาของปรากฏการณ์ เกิดขึ้น–คงอยู่–ดับไป ของแต่ละเสียงหดสั้นลงกว่าตอนเสียบผ่านปลั๊กรางธรรมดานิดหน่อย ซึ่งอาการนี้ส่งผลมากในย่านทุ้ม คือทำให้เสียงทุ้มมีลักษณะที่กระชับมากขึ้น ตึงตัวมากขึ้น หัวเสียงเร็ว เก็บตัว และขมวดรวบหางเสียงไว ใครที่ใช้ลำโพงขนาดใหญ่ที่รู้สึกว่าเบสหลวมๆ ไม่เก็บตัว หัวเสียงเบสไม่คม หางเสียงอื้ออึง ใช้เพาเวอร์ คอนดิชั่นเนอร์ตัวนี้แล้วจะได้เสียงที่เร็วกระชับมากขึ้น แต่คนที่ใช้ลำโพงเล็กๆ อาจจะรู้สึกว่าเบสน้อยลง และอาจจะรู้สึกว่าเสียงมีลักษณะพุ่งและเค้นนิดๆ เมื่อฟังเทียบกับตัวใหญ่กว่าอย่าง

เพราะชอบฟังเพลงมาตั้งแต่เด็ก และมาเริ่มชอบเครื่องเสียงตอนโต เว็บไซต์แห่งนี้จึงเป็นเสมือนศูนย์รวมความชอบของผมที่อยากจะแบ่งปันให้กับเพื่อนๆ ที่ชื่นชอบในสิ่งเดียวกัน..

(สำหรับติดต่อลงโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์เท่านั้น)

การปรับจูนสภาพอะคูสติกของห้องทั่วไปให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการฟังเพลงด้วยชุดเครื่องเสียงที่ใช้ลำโพงสองตัวทำงานร่วมกันในระบบเสียงสเตริโอ มีหลักการคร่าวๆ ก็คือ พยายามทำผนังฝั่งตรงข้ามกันให้มีสภาพอะคูสติกที่มีลักษณะการซับ/สะท้อนคลื่นเสียงแบบเดียวกัน ในทางปฏิบัติก็คือ เลือกใช้วัสดุปรับสภาพอะคูสติกแบบเดียวกัน โดยติดตั้งในลักษณะที่เป็น

กำลังไฟฟ้าขาเข้า (ต่ำสุด-สูงสุด) (วัตต์)

” มีคุณสมบัติช่วยสะท้อนคลื่นเสียง กับอีกรุ่นชื่อว่า “

ของแต่ละโน๊ต และมีเสียงเปียโนเสริมอยู่อีกชิ้นด้วย เพลงในอัลบั้มนี้ที่ผมตั้งใจฟังเป็นพิเศษในการวัดผลคือแทรคที่สอง เพลง “

เข้ามาช่วยดูดซับพลังงานความถี่ในย่านกลางและแหลมลงไปบางส่วน แต่สมมุติว่า เจ้าของห้องพยายามแก้ไขปัญหาระดับหนึ่งด้วยการติดม่านสูงตลอดแนวของผนังด้านข้างปิดทับผนังปูนหรือกระจกทั้งหมด ซึ่งจะทำให้ผนังด้านนี้มีคุณสมบัติเปลี่ยนไปเป็นตรงข้าม คือดูดกลืนความถี่ในย่านกลาง–แหลมแทนที่จะสะท้อน ซึ่งกรณีนี้ ก็ควรเลือกใช้ตัว

“บาลานซ์แท้คืออะไร” ทำไมเครื่องเสียงไฮเอนด์ถึงนิยมเลือกใช้

เข้ามาช่วยแก้ปัญหาอะคูสติกได้ นั่นคือ บริเวณผนังด้านข้างส่วนที่อยู่เลยหน้าลำโพงขึ้นมา ซึ่งจุดนั้นเป็นส่วนที่คลื่นเสียงจากลำโพงจะตกกระทบและเกิดการสะท้อนเป็นอันดับแรก (

"เล่นเครื่องเสียงไฮเอนด์อย่างไร ไม่ให้หลงทาง"

Report this page